882. สมเด็จติดบ่วงแทนนก

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี )ท่านแผ่เมตตาให้สัตว์ทั้งหลายทั่วกัน ไม่จำกัดขอบเขตว่า จะเป็นสัตว์ชนิดใด เมื่อพบสัตว์ประสบทุกข์ต้องภัยพิบัติ ท่านก็ช่วยเหลือแก้ไขด้วยการุณยจิต มีเรื่องเล่าว่า ครั้งหนึ่งท่านเดินทางไปต่างจังหวัด ระหว่างทางได้มองเห็นนกตัวหนึ่งติดแร้วอยู่ กำลังดิ้นรนเพื่อจะเอาชีวิตให้รอดไป แต่ก็ไม่สามารถหลุดไปจากแร้วได้ ท่านจึงแก้บ่วงแร้วปล่อยนกนั้นไป แล้วท่านก็เอาเท้าของท่านสอดเข้าไปในบ่วงนั้น นั่งทำทีเป็นติดแร้วไปไม่ได้ เมื่อคนเดินผ่านมาพบ ก็เข้าไปจะช่วยแกะเชือกแก้บ่วงออก ท่านไม่ยอมให้แก้บอกให้ไปตามเจ้าของแร้วมาก่อน เมื่อเจ้าของแร้วมา

Read more

830. บารมีสมเด็จโตคุ้มครอง..รถแหกโค้งพุ่งใส่! แต่รอดราวปาฏิหาริย์เพราะพระสมเด็จที่คอกระตุกเตือน!

รถยนต์มหากาฬ นายแม่น ชลานุเคราะห์ ประวัติ เป็นคนอำเภอธนบุรี(บางยี่เรือ) จังหวัดกรุงเทพมหานคร เป็นบุตรคนแรกของ นาวาเอก พระยาชลธารวินิจจัย ดำรงตำแหน่ง พนักงานกระจายเสียงเอก กรมประชาสัมพันธ์ และเป็นผู้ประกาศแถลงการณ์รัฐบาลคำสั่งคณะปฏิวัติและอื่นๆของคณะรัฐบาล นายแม่นเอง เป็นผู้ที่สะสมพระสมเด็จไว้เป็นจำนวนมาก เป็นไปได้ว่าเหตุที่ทำให้นายแม่นหันมาสะสมอาจเป็นเพราะเรื่องเล่าดังต่อไปนี้ นายแม่น ได้เล่าว่า มีพระสมเด็จห้อยที่คออยู่
ขณะเดินทางไปรับแหวนอัศวิน จาก

Read more

736. ตำนานขรัวตาแสง บูรพาจารย์สมเด็จพุฒาจารย์โต

ตำนานขรัวตาแสง ประวัติของขรัวตาแสง พระอาจารย์องค์สำคัญของสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี ในยุคกรุงรัตนโกสินทร์สองร้อยกว่าปีล่วงมาแล้วจะหาพระภิกษุรูปใดที่จะเป็นที่รู้จักของมหาชนยิ่งไปกว่า สมเด็จพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี แห่งวัดระฆังโฆสิตาราม พระมหาเถราจารย์ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นไม่มี แต่จะหาผู้ที่รู้จักพระมหาเถระอันเป็นที่เคารพนับถือ และเป็นบูรพาจารย์ องค์สำคัญองค์หนึ่งของสมเด็จพุฒาจารย์โต อันมีนามว่าหลวงปู่แสง แห่งวัดมณีชลขัณฑ์ เมืองลพบุรี น้อยเต็มที

Read more

696. อภินิหารของขรัวโต (หลวงพ่อโต) โดยท่าน มหาอำมาตย์ตรี พระยาทิพโกษา

จากหนังสืออนุสรณ์ งานพระราชทานเพลิงศพ อาจารย์ เทพ สาริกบุตร ท่าน มหาอำมาตย์ตรี พระยาทิพโกษา (สอน โลหะนันท์)ได้เรียบเรียงถึงอภินิหารของสามเณรโตไว้ว่า เมื่อสามเณรโตอายุได้ ๑๕ ปี บวชเป็นเณรได้ ๓ พรรษา ได้เล่าเรียนคัมภีร์มูละกัจจายนะปกรณ์จบแล้ว อยากจะเรียนคัมภีร์พระปริยัติเป็นกำลัง พระครูผู้เป็นอุปัชฌาย์ จึงแนะนำให้ไปเรียนกับท่านพระครูจังหวัด

Read more

621. เรื่องจริงหรือแค่ตำนาน!!?? พระสมเด็จแสดงปาฏิหาริย์ รักษาโรคห่า และไข้ป่าได้ปลิดทิ้ง!!!”

พระสมเด็จกรุบางน้ำชน (ปีระกาป่วงใหญ่) พิมพ์ปรกโพธิ์เม็ดพระพิมพ์นี้มีชื่อเรียกหลายชื่อ “สมเด็จปีระกา” ,”สมเด็จปีระกาป่วงใหญ่” “สมเด็จเขียว” , “สมเด็จกรุบางน้ำชน” เป็นพระสมเด็จที่สร้างขึ้นที่วัดบวรสถานสุทธาวาส(วัดพระแก้ววังหน้า)และทันท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯ(โต)และที่ถือว่าเป็นรุ่นพี่สมเด็จกรุบางขุนพรหมเพราะสร้างก่อนเมื่อเกิดโรคป่วงหรืออหิวาห์ตกโรคขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2416 หลังจากที่ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯ(โต)ถึงแก่ชีพิตักษัย(มรณภาพ)เมื่อปี พ.ศ.2415แล้วโรคป่วงหรืออหิวาห์ตกโรคได้คร่าชีวิตผู้คนไปจำนวนมากมายเป็นหมื่นคน โรคนี้ระบาดอยู่ถึง 30 วัน ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯ(โต)ได้มาเข้าฝันชาวบ้านบางช้างให้เอาพระพิมพ์ของท่านทำน้ำมนต์ดื่มกินเพื่อแก้โรคร้ายซึ่ง เมื่อคนกินแล้ว หายข่าวแพร่สะพัดเข้าพระกรรณ พระพุทธเจ้าหลวง จึงทรงนำพระสมเด็จที่ทรงเก็บไว้

Read more

531. ตำนานเล่าขานสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) พระมหาเถราจารย์แห่งแผ่นดิน ผู้ทรงคุณวิเศษ

๐ ติดบ่วงแทนนก นอกจากนี้ ท่านยังแผ่เมตตาให้สัตว์ทั้งหลายทั่วกัน ไม่จำกัดขอบเขตว่า จะเป็นสัตว์ชนิดใด เมื่อพบสัตว์ประสบทุกข์ต้องภัยพิบัติ ท่านก็ช่วยเหลือแก้ไขด้วยการุณยจิต มีเรื่องเล่าว่า ครั้งหนึ่งท่านเดินทางไปต่างจังหวัด ระหว่างทางได้มองเห็นนกตัวหนึ่งติดแร้วอยู่ กำลังดิ้นรนเพื่อจะเอาชีวิตให้รอดไป แต่ก็ไม่สามารถหลุดไปจากแร้วได้ ท่านจึงแก้บ่วงแร้วปล่อยนกนั้นไป แล้วท่านก็เอาเท้าของท่านสอดเข้าไปในบ่วงนั้น นั่งทำทีเป็นติดแร้วไปไม่ได้ เมื่อคนเดินผ่านมาพบ ก็เข้าไปจะช่วยแกะเชือกแก้บ่วงออก ท่านไม่ยอมให้แก้บอกให้ไปตามเจ้าของแร้วมาก่อน เมื่อเจ้าของแร้วมา

Read more

6146. ประเทศไทยมีใครบ้าง ไม่รู้จัก “แม่นาค พระโขนง”

เป็นภาพวาดจากนิมิตของพระอาจารย์หนู วัดสุทธาราม (วัดพระฉิม) ตอนที่พระอาจารย์อาพาธหนักนอนอยู่โรงพยาบาล ย่านาค ได้ไปช่วยรักษา จนท่านหาย ตั้งแต่นั้นมา พระอาจารย์ก็วาดภาพย่านาค เก็บไว้ที่พิพิทธภัณฑ์ ผลงานปฏิมากรรม ของท่านที่วัดฯ   เรื่องราวของแม่นาคพระโขนงเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายมานานแล้ว เพราะมีหลักฐานว่าใน สมัยรัชกาลที่ ๕ มีคนรู้จักแม่นาคพระโขนงมากกว่าบุคคลสำคัญของบ้านเมืองเสียด้วยซ้ำที่กล่าวดังนี้ ก็เนื่องจาก สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ

Read more
error: ถ้าจะก๊อปกรุณาให้เครดิตท่านเจ้าของบทความ