2546.หากมีทุกข์ใดแก้ไม่ตก ลองระลึกถึงกรมหลวงชุมพร

หากมีทุกข์ใดแก้ไม่ตก ลองระลึกถึงกรมหลวงชุมพร หรือจุดธูปบนบานศาลกล่าวท่าน แล้วไปแก้ที่ศาลท่าน!!! พระคาถาบูชาพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ตั้งนะโม ๓ จบ ชุมพรจุตติ อิทธิกรณัง สุโข นะโมพุทธายะนะมะพะทะ จะพะกะสะ มะอะอุหรือชุมพรจุตติ อิทธิกรณัง สุโขนะโมพุทธายะทะอะระหัง ทะ จะพะ กะสะ มะอะอุ

Read more

2517.กรมหลวงชุมพร กับ หลวงปู่พุ่ม

กรมหลวงชุมพร พระองค์เคยเสด็จมาสนทนาธรรมกับหลวงปู่พุ่ม กรมหลวงชุมพรเขตต์อุดมศักดิ์ก็เป็นหนึ่งในศิษย์สายหลวงปู่พุ่มวัดบางโคล่และท่านก็นับถือหลวงปู่พุ่มเป็นอย่างมากเสด็จฯ มาหาหลายครั้งชาวบางโคล่สมัยก่อนมีโอกาสชื่นชมพระบารมีหลายต่อหลายครั้งและกล่าวถึงกันต่อๆ มา จนถึงปัจจุบัน สำหรับที่มาที่ไป ที่เสด็จในกรม ท่านได้มาเป็นศิษย์ของหลวงปู่พุ่ม มีดังนี้ สมัยที่ยังมีรถรางเส้นเจริญกรุง สุดปลายทางถนนตก เจ้าหน้าที่รถรางที่เป็นศิษย์ของหลวงปู่พุ่ม ทุกคนต่างก็มีเหรียญของท่านขึ้นคอบูชาแบบแขวนเดี่ยวทุกคน และก็ไม่พ้นวิสัยของมนุษย์ในเรื่องการทะเลาะวิวาทระหว่างคนต่างถิ่น โดยเฉพาะกับทหารเรือ ซึ่งเป็นไม้เบื่อไม้เมากันมานานเมื่อต่างคนต่างถือว่าตนมีของดีอยู่ในตัว จึงไม่กลัวใครการทะเลาะวิวาทกันถึงขั้นตีรันฟันแทงกันจนเป็นข่าวใหญ่ ในสมัยนั้น(สมัยนั้นไม่มีการใช้อาวุธปืน) กล่าวกันว่าไม่มีใครได้รับบาดเจ็บกันทั้งสองฝ่ายแต่ก็ต่างฟกช้ำดำเขียวไปด้วยรอยมีดที่ฟาดลง

Read more

2516.เกจิอาจารย์ที่กรมหลวงชุมพรฯ เคารพนับถือ

เกจิอาจารย์ที่กรมหลวงชุมพรฯ เคารพนับถือเป็นพระ ๑๐ รูป ฆราวาส ๑ คน และเทพนารีอีก ๒ พระองค์ ๑. หลวงปู่ดำ (หลวงพ่อใหญ่ หรือ พระครูเทพโลกอุดร ) จ. ภูเก็ต ๒. หลวงพ่อกลั่น

Read more

2609.ทำไมถึงเรียกพระองค์ท่านว่า “เสด็จเตี่ย”

ทำไมถึงเรียกพระองค์ท่านว่า “เสด็จเตี่ย” พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ ฯ ทรงได้รับพระราชทานพระอิสริยศักดิ์เป็นนายพลเรือตรีเมื่อวันที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๔๗ และเป็นกรมหมื่นชุมพรเขตอุดมศักดิ์เมื่อวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๔๗ ระหว่างที่เสด็จในกรม ฯ ทรงรับราชการอยู่นั้น พระองค์ทรงมีลูกศิษย์ลูกหามากมาย พระจริยวัตร ของพระองค์ที่ทรงมีลูกศิษย์และผู้ใต้บังคับบัญชานั้น ทำให้พระองค์ทรงเป็นที่รักเคารพนับถือ และศรัทธา

Read more

2316.กรมหลวงชุมพรฯ ทรงเเวะชุมแสง พบผู้ทรงอภิญญา

กรมหลวงชุมพรฯ ทรงเเวะชุมแสง กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์มักจะเสด็จไปยังวัดปากคลองมะขามเฒ่า เมืองชัยนาท อยู่เสมอๆ ด้วยความศรัทธามั่นต่อหลวงพ่อศุข เกจิอาจารย์ ผู้ปราดเปรื่องเรื่องเวทมนตร์คาถาอาคมนั้น พระองค์ได้พบกับความมหัศจรรย์ทางพุทธเวทย์เป็นที่ประจักษ์แก่สายตานับครั้งไม่ถ้วน จึงยกให้หลวงพ่อศุข เป็นอาจารย์ของพระองค์ ได้รับการถ่ายทอดวิชานานัปการ อันประมาณมิได้จากหลวงพ่อเป็นถ้วนทั่ว ฝึกฝนจนเกิดความชำนาญ มีปรีชาสามารถ ปรากฏตามเรื่องราวของพระองค์กับหลวงพ่อศุข ดังที่ได้เคยมีผู้รจนาไว้จำนวนมาก เป็นที่ทราบความกันดีแล้วๆ นั้น จึงมิขอกล่าวถึงอีก

Read more

2192.อีกหนึ่งอาจารย์เสด็จเตี่ย “หลวงพ่อพริ้ง” วัดบางปะกอก

อีกหนึ่งอาจารย์เสด็จเตี่ย “หลวงพ่อพริ้ง” วัดบางปะกอก ผู้มอบ“ปั้นเหน่งแม่นาค”แก่เสด็จเตี่ย อภิญญาบารมีเหลือล้น ประลองวิชากับเสด็จเตี่ยหลายหน! ท่านพระครูประศาสน์สิกขกิจ อินทโชติ (พริ้ง) อดีตท่านเจ้าอาวาสวัดบางปะกอก ตำบลบางปะกอก อำเภอราษฎร์บูรณะ จังหวัดนครหลวงกรุงเทพธนบุรี (ธนบุรีเดิม) เดิมชื่อ “พริ้ง เอี่ยมทศ” บิดาชื่อเอี่ยม มารดาชื่อสุ่น ได้อุปสมบทเป็นสามเณรตั้งแต่ยังเล็กที่วัดพลับ

Read more

2131.หลวงพ่อกลั่น วัดพระญาติ กับ เสด็จเตี่ยกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์

?พลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ให้ความเคารพนับถือหลวงปู่กลั่นเป็นพระอาจารย์ของท่านองค์หนึ่ง มูลเหตุที่ทำให้พระองค์เดินทางไปกราบหลวงปู่ที่วัดพระญาติก็เนื่องมาจากว่า… เย็นวันหนึ่ง ทอดพระเนตรเห็นทหารเรือ 2 นาย ทะเลาะวิวาทกัน ถึงขั้นลงมือลงไม้ ทหารเรือที่ตัวเล็กกว่า ถูกคนตัวโตฟาดด้วยท่อนไม้จนล้มคว่ำ แต่กลับลุกขึ้นมาได้และตอบโต้คนที่ตัวโตกว่าจนเกือบเสียท่า เมื่อนำตัวมาสอบ ไม่ปรากฏว่ามีบาดแผลแต่อย่างใด คงมีแต่รอยฟกช้ำบวม สอบถามได้ความว่าเป็นศิษย์ของหลวงพ่อวัดพระญาติ เมืองกรุงเก่า ด้วยความสนพระทัย กรมหลวงชุมพรฯ

Read more

2130.ตะกรุดสามกษัตริย์ กรมหลวงชุมพรฯ

?#ตะกรุดสามกษัตริย์นี้ ?กรมหลวงชุมพรฯ มิเคยเอาออกห่างพระวรกายเลย เท่าที่ทราบมาตะกรุดดอกนี้ตกอยู่ที่หม่อมเจ้ารังสิยากร เนื่องจากก่อนที่เสด็จในกรมจะสิ้นพระชนม์ พระองค์ทรงหยิบตะกรุดสามกษัตริย์ดอกนี้ออกจากคาดเอว มอบให้กับหม่อมของท่าน ทรงรับสั่งว่า “เอาเก็บไว้ให้เจ้าตุ่น” “เจ้าตุ่น” นี้คือหม่อมเจ้ารังสิยากร โอรสพระองค์โปรดของเสด็จในกรม ในช่วงสมัยมหาสงครามเอเชียบูรพา (เสด็จในกรมสิ้นพระชนม์แล้ว) หม่อมเจ้ารังสิยากรประทับอยู่ใกล้วัดคอกหมู คลองบางหลวง ฝั่งธนบุรี วันนั้นเวลา 10.30 น.

Read more
error: ถ้าจะก๊อปกรุณาให้เครดิตท่านเจ้าของบทความ