2118.ภาพเก่าลงสี : สมเด็จพุฒาจารย์(โต)เมื่อครั้งไปร่วมงานฉลองพระหลวงกาลสมัยนฤมิต

ภาพเก่าลงสี : สมเด็จพุฒาจารย์ (โต พรฺหมฺรํสี) สันนิษฐานว่าถ่ายเมื่อครั้งไปร่วมงานฉลองพระหลวงกาลสมัยนฤมิต (เหลี่ยม ศุกรสุข) ที่ ต. บ้านช่างหล่อ จ. ธนบุรี โดยมีพระครูปลัดมัศร์ วัดระฆังฯ นั่งอยู่ด้านซ้าย และพระอาจารย์ดำ วัดอมรินทราราอยู่ด้านขวา วันนี้ขอนำเสนอบทความสนุกๆแฝงธรรมครับ “สมเด็จพระพุฒาจารย์โต

Read more

2033.หลวงพ่อทรัพย์เกจิที่ถูกลืม

หลวงพ่อทรัพย์เกจิที่ถูกลืม หลวงพ่อทรัพย์ วัดใหม่ปากบาง เป็นลูกศิษย์สมเด็จโต วัดระฆังฯ ที่ถูกคนลืมเลือน ในบรรดาลูกศิษย์สมเด็จโต ส่วนใหญ่ล้วนมีชื่อเสียงโด่งดัง เช่น สมเด็จพระพุทธบาทปิลันท์ หลวงปู่ภู วัดอินทร์ฯ สมเด็จฤทธิ์ วัดอรุณฯ หลวงปู่อ้น วัดบางจาก สมเด็จเจริญ วัดระฆัง แต่ละองค์ ล้วนแต่โด่งดัง

Read more

2026.ความสัมพันธ์สมเด็จโตกับหลวงปู่ภู วัดอินทรฯ

ความสัมพันธ์สมเด็จโตกับหลวงปู่ภู วัดอินทรฯ ในบรรดาลูกศิษย์สมเด็จโต วัดระฆัง ศิษย์ที่ถูกกล่าวขานมากที่สุด คือ หลวงปู่ภู พระสมเด็จที่หลวงปู่ภูสร้าง ในสมัยก่อน เล่นหากันน้องๆ พระสมเด็จบางขุนพรหมทีเดียว แต่ต่อมา ราคาดร็อปลงมาหน่อย เนื่องจากมีผู้ปลอมแปลงพระท่าน เหมือนมาก ขนาดติดงานประกวดได้ ทำเอาคนเล่นพระท่าน หวาดผวา จึงทำให้ราคาร่วงลงมาเยอะ หลวงปู่ภู

Read more

1986.สมเด็จโตกับพระยืนอุ้มบาตร วัดกลางราชบุรี

สมเด็จโตกับพระยืนอุ้มบาตร วัดกลางราชบุรี วัดกลาง ต. คลองข่อย ก่อสร้างในสมัยรัชกาลใด ไม่มีผู้ใดทราบ สันนิษฐานว่าอาจจะสร้างมาตั้งแต่สมัย กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เพราะจากคำบอกเล่าของผู้อาวุโส เดิมวัดนี้หันหน้าไปทางแม่น้ำเพราะการเดินทางจะใช้แม่น้ำเป็นหลัก ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2300 ไม่ปรากฏว่าผู้ใดเป็นผู้สร้าง แต่เป็นวัดที่ท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒจารย์(โต)พรหมรังสี ได้เคยธุดงค์มาบำเพ็ญวิปัสสนากรรมฐาน และจัดสร้างพระพุทธรูปปางอุ้มบาตรขึ้น ก่อสร้างด้วยอิฐถือปูน สูง

Read more

1593.ตำนานสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหฺมรงฺสี) ” เปิดบันทึกตำนานตอนที่ ๕ “

“เปิดบันทึกตำนานตอนที่ ๕ ” ◎ตำนานสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหฺมรงฺสี) พระมหาเถราจารย์แห่งแผ่นดินผู้ทรงคุณวิเศษ ผู้มีตบะบารมีอันแก่กล้า จากบันทึกของมหาอำมาตย์ตรี พระยาทิพโกษา (สอน โลหนันทน์) •สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงฯ พระองค์นั้น ทรงพระเกษมสันต์โสมนัสยิ่งนัก จึงเสด็จตรงเข้าจับมือสามเณรโตแล้วจูงให้มานั่งพระเก้าอี้เคียงพระองค์ แล้วทรงถามว่าอายุเท่าไรฯ ทูลว่า ขอถวายพระพรอายุได้

Read more

1565.สมเด็จพระพุฒาจารย์ ( โต พรหมรังสี ) เทพเจ้าแห่งวัดระฆัง

สมเด็จพระพุฒาจารย์ ( โต พรหมรังสี ) สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) มีประวัติเป็นที่ประทับใจประชาชนคนไทยอย่างไรเห็นจะไม่ต้องพูดกัน เพราะหลายท่านทราบกันดีอยู่แล้วในกิตติศัพท์อันเลื่องลือของ “สมเด็จโต” โดยที่สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรสี) ได้เคยเป็นเจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตารามเมื่อ พ.ศ. 2395 และวัดระฆังเป็นวัดที่อยู่ในพื้นที่เขตบางกอกน้อย ชาวบางกอน้อย จึงถือท่านเป็นเสมือนเพชรประดับในเรือนใจของชาวบางกอกน้อย

Read more

1543.ตำนานสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหฺมรงฺสี) ” เปิดบันทึกตำนานตอนที่ ๒ “

“เปิดบันทึกตำนานตอนที่ ๒ ” ตำนานสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหฺมรงฺสี) พระมหาเถราจารย์แห่งแผ่นดินผู้ทรงคุณวิเศษ ผู้มีตบะบารมีอันแก่กล้า จากบันทึกของ มหาอำมาตย์ตรี พระยาทิพโกษา (สอน โลหนันทน์) ◎ฝ่ายเจ้าพระยาจักรีนั้น ครั้นส่งเสด็จแล้ว จึงจัดกองทัพออกติดตามสกัดจับพม่าตีรุกหลังพม่าแตกฉานเป็นหลายทัพ จับได้รี้พลช้างม้าเป็นอันมาก ทั้งตัวเจ้าพระยาจักรีเองก็ยกทัพหนุนไปด้วย จนถึงเมืองกำแพงเพชร แล้วจัดการพิทักษ์รักษาเมืองโดยกวดขัน

Read more

1431.ตำนานสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหฺมรงฺสี) ” เปิดบันทึกตำนานตอนที่ ๑ “

” เปิดบันทึกตำนานตอนที่ ๑ ” ตำนานสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหฺมรงฺสี) พระมหาเถราจารย์แห่งแผ่นดินผู้ทรงคุณวิเศษ ผู้มีตบะบารมีอันแก่กล้า จากบันทึกของ มหาอำมาตย์ตรี พระยาทิพโกษา (สอน โลหนันทน์) ความนำ : คำปรารภและอนุมานสันนิษฐานว่าประวัติเรื่องความเป็นไปของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) ครั้งในรัชกาลที่ ๔

Read more

1261. “สมเด็จโต” ขายหน้าเอาผ้ารอด!!

สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พฺรหฺมรํสี หรือนามที่นิยมเรียก “สมเด็จโต” “หลวงปู่โต” หรือ “สมเด็จวัดระฆัง” เป็นพระภิกษุมหานิกาย เป็นพระมหาเถระรูปสำคัญที่ได้รับความนิยมนับถืออย่างมากในประเทศไทย ท่านเคยดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหารในสมัยรัชกาลที่ ๔-๕ สมเด็จพระพุฒาจารย์โต นับเป็นพระเกจิเถราจารย์ผู้มีปฏิปทาจริยาวัตรน่าเลื่อมใส เป็นที่เคารพนับถือทั่วไปมาตั้งแต่ท่านยังมีชีวิตอยู่ ตั้งแต่พระมหากษัตริย์จนถึงสามัญชน และนอกจากจริยาวัตรด้านความสมถะอันโดดเด่นของท่านแล้ว ท่านยังทรงคุณทางด้านวิชชาคาถาอาคม เมตตามหานิยม โดยเฉพาะอย่างยิ่งวัตถุมงคล “พระสมเด็จ”

Read more
error: ถ้าจะก๊อปกรุณาให้เครดิตท่านเจ้าของบทความ